วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

วิชาจริยศาสตร์ สังคมศึกษาปีที่ ๒


ศิลปะในการสนทนาของโสคราตีสที่เรียกว่า(Socrates Method) หรือเรียกว่าวิภาษวิธี (Dialectic) มีประโยชน์ต่อการศึกษาของนักศึกษาอย่างไรบ้าง อธิบาย

วันอาทิตย์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

การบ้านนักศึกษาสังคมศึกษาปีที่ ๒

ให้นักศึกษาสังคมศึกษาปีที่ ๒ จงเปรียบเทียบจริยศาสตร์ตะวันตกกับตะวันออกว่ามีความเหมือน ความคล้ายกัน หรือมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง อธิบาย
(ให้ส่งภายในวันที่ ๒ ธ.ค. ๒๕๕๓ เวลา ๒๔.๐๐ น. ส่งเกินกำหนดเวลาคะแนนเป็นศูนย์)
ลอกของเพื่อนส่งคะแนนเป็นศูนย์เหมือนกัน

วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

วิชาความจริงของชีวิต (อย่าลืมพิมพ์ชื่อ สาขาวิชา รหัสนศ.)

ให้นักศึกษาตอบคำถามต่อไปนี้
๑.ตามทัศนะของศาสนาต่าง ๆ อธิบายที่มาของคนเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง อธิบาย
๒.ระหว่างกาย-จิต ศาสนาให้ความสำคัญกับส่วนใดมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
๓.ถ้าให้นักศึกษาเลือกระหว่างการได้เป็นคนกับเป็นมนุษย์จะเลือกเป็นอะไร อธิบายเหตุผลด้วย

ส่งไม่เกินวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เวลา ๑๘.๐๐ น.

วันพุธที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

งานเก็บคะแนนวิชาความจริงของชีวิต

ให้นักศึกษาส่งงานที่อาจารย์มอบหมายให้ทำคือ
งานครั้งที่ ๑ วิชาความจริงของชีวิต
สัปดาห์ที่ ๑
(เก็บคะแนน)

๑. แนะนำตัว ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น จังหวัดบ้านเกิด
๒. เหตุผลที่มาเรียนวิชานี้? เกรดเฉลี่ยตอนนี้เท่าไหร่?
๓. ก่อนเรียนวิชานี้คิดว่าวิชานี้เป็นอย่างไร?
๔. วาดภาพอาจารย์ผู้สอนก่อนมาเรียนอย่างไร?
๕. เมื่อได้มาเรียนครั้งแรกรู้สึกอย่างไร?
๖. คาดหวังอย่างไรจากวิชานี้
๗. สรุปเรื่องที่เรียนในวันนี้
๘. เรื่องที่สงสัยไม่เข้าใจ
๙. ข้อเสนอแนะในการเรียนการสอนวันนี้
๑๐. ความในใจที่อยากบอก
๑๑. ข้อมูลเพิ่มเติมที่อยากให้อาจารย์ได้รับรู้เป็นพิเศษ
๑๒. จงนิยามให้คำจำกัดความสั้น ๆ ว่า ความจริงคืออะไร?
๑๓. จงนิยามให้คำจำกัดความสั้น ๆ ว่า ชีวิตคืออะไร?
๑๔. จงนิยามให้คำจำกัดความสั้น ๆ ว่าคนคืออะไร
๑๕. จงนิยามให้คำจำกัดความสั้น ๆ มนุษย์คืออะไร
****************

ส่งทางบล็อกของอาจารย์ที่ให้ไว้ในประมวลการสอน
ส่งงานไม่เกินเวลา ๑๕.๐๐ น.ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
(เกินเวลา ๑๕.๐๐ น. ไม่รับส่ง คะแนนเก็บท้ายชั่วโมงเป็นศูนย์ ส่งให้ตรงเวลา)

วันอังคารที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

รายชื่อกลุ่มทำรายงานวิชาจริยศาสตร์

จริยศาสตร์โสเครติส
สมาชิก
นายพัลลภ เกตุโสภณ 52115710120
นายรุ่งเรือง เปรมจรูญ 52115710121
นายกานต์ กล้าเอี่ยม 52115710122
นางสาวรจนา พรหมงาม 52115710130
นายอุดมศักดิ์ สุดใจ 52115710135

จริยศาสตร์เพลโต
สมาชิก
นางสาวเสาวลักษณ์ สกุลด่าน 52115710107
นางสาวจันทนา นารอด 52115710109
นางสาวอมรรัตน์ ทองทัพ 52115710112
นางสาวบุญทัญ จำปาดี 52115710131
นางสาวเตนรินทร์ หินอ่อน 52115710142
นางสาวศิรินัน เพิงสงเคราะห์ 52115710148
จริยศาสตร์ อริสโตเติล
สมาชิก
นายสมนึก พามา 52115710102
นางสาวปิยาณี ช่างเสาร์ 52115710114
นางสาวภาวิณี สกุลทิพย์ 52115710143
นางสาวกันทิมา แนมชัยภูมิ 52115710153
นางสาวนันทวรรณ มีเพ็ชร 52115710154
จริยศาสตร์อิมมานูเอล คานท์
สมาชิก
นางสาวสุนันท์ ชุนประเสริฐ 52115710101
นางสาววันดี อำพันรัตน์ 52115710111
นางสาวสนมพร ตะกรุดแจ่ม 52115710117
นางสาวอัยลดา อภิธนาภิรักษ์ 52115710119
นางสาวนิลาวรรณ สุกาญจนาพันธ์ 52115710123
จริยศาสตร์ เหล่าจื้อ
สมาชิก
นางสาวนนทรีย์ ปั่นทิม 52115710104
นางสาวอมรรัตน์ มีเคลือบ 52115710126
นางสาวนิภาพร แพงวงษ์ 52115710139
นางสาววรรณวิสา เช้าโต 52115710141
นางสาวปรียานุช ทรัพย์เจริญ 52115710133
จริยศาสตร์พระพุทธเจ้า
นายอนันต์สิทธิ์ เรืองรุ่ง 52115710129
นายกิตติศักดิ์ พยุงวงษ์ 52115710132
นายมนตรี อามเทศ 52115710140
นายวีระ สลุงอยู่ 52115710144
นายอธิฐพล สลุงอยู่ 52115710151
จริยศาสตร์ขงจื้อ
นางสาวเมทินี โคตุดร 52115710124
นางสาวจุฑามาศ เยาว์ทุม 52115710128
นางสาวระพีพร พัลลพ 52115710134
นางสาวพัชธาวดี โคประยูร 52115710138
นางสาวมารีแย แวนาแว 52115710145
จริยศาสตร์พระเยซู
สมาชิก
น.ส.ปิยวรรณ แจ้งตระกูล 52115710108
นายฐิติพงศ์ บริบรูณ์ 52115710136
น.ส.พรรณิกาณ์ สอนนา 52115710146
น.ส.อนิตยา เย็นเจริญ 52115710147
น.ส.ประภาศรี หอมแสง 52115710152
จริยศาสตร์นบีมูฮัมหมัด
สมาชิก
นางสาวอริสรา ปิตานา 52115710105
นางสาวเนตรชนก จันทร์ปางาม 52115710113
นางสาวนิภาพร บุญสุวรรณ์ 52115710115
นางสาววิภา แสงคง 52115710116
นางสาวนันท์นภัส ศรีแสงเมฆ 52115710135

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553

รายงานกลุ่มวิชาสันติศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น





กลุ่ม 1 สันติศึกษากับการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
1. ส.อ.สุดใจ แปลงไธสง 51264690305
2. นายปัญญา แจ่มทอง 51264690306
3. นางกนกวรรณ ศรีทวีคูณ 51264690311
4. นายพงศ์ณไชย หอมคุณ 51264690313
5. นายภาสกร งามสม 51264690314
6. น.ส.อรวรรณ หนูเทพ 51264690315
7. นางสุภักต์ สุวรรณศรี 51264690316
8. นายอนุพงษ์ เอี่ยมชม 51264690317

กลุ่ม 2 ธรรมภิบาลกับการสร้างสมานฉันท์ในท้องถิ่น
1. ส.อ. เชิดพงศ์ แทนหอม 51264690103
2. ส.อ. รัตนชัย ทั่งเหล็ก 51264690104
3. น.ส. ณัฐณิชา พูลเอี่ยม 51264690108
4. น.ส. ทิพวรรณ ภู่ขาว 51264690111
5. นายอุทัย จำนงค์สาตร 51264690121
6. น.ส. ทิพย์วรรณ จำนงค์สาตร 51264690122
7. น.ส. วาสนา จำเนียรทอง 51264690136
8. น.ส. พรทิพย์ มงคลชัย 53294690112

กลุ่ม 3 กลยุทธ์และกลวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
1. น.ส. ดาราบดินทร์ เข็มนาค 51264690411
2. น.ส. สุชาดา ไล้อ้วม 51264690402
3. น.ส. ภาวิณี วงสเนา 51264690429
4. น.ส. จินตนา คุ้มเกวียน 51264690430
5. น.ส. อัจฉราพรรณ ปัญจะ 51264690423
6. สิบโทศิรวีร์ ริมสีม่วง 51264690416

กลุ่ม 4 ทิศทางการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย: กรณีศึกษาชุมชน (ระบุชุมชน)
1. เนรมิต เชียงศรี 51264690401
2. สุพัตรา โพธิทอง 512646904
3. มนตรี พุกชาติ 51264690404
4. ชลิต คชฤทธิ์ 512646904
5. ขวัญชัย สุวรรณ 512646904
6. ธนวัตร พันธุ์บุตรน้อย 512646904
7. ศรัณย์ พิทักษ์พาณิชกุล 50164690134
8. นิวัฒน์ คงเปี่ยม 50164690110

กลุ่ม 5 การมีส่วนรวมกับการพัฒนาท้องถิ่น
1. นายไวกูล คเณย์ 51264690105
2. ส.อ. ชานุวัฒน์ โกสุมา 512646901
3. ส.อ. รณกฤต ลำน้อย 51264690112
4. พลอาสา สุรชัย บุญรื่น 51264690116
5. นายศุภกร สรรพวัฒนกุล 51264690117
6. ส.อ. ธนพล บุตรสอน 51264690123
7. จ.ส.อ. สมชาย หุ่นธานี 51264690132
8. นางนวลวรรณ วิเวถวิน 52294650344 (สมทบ)


กลุ่ม 6 วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้างสมานฉันท์
1. นางคำพอง ทองสุขนอก 50294700407
2. นางสุภาพร วัฒนสินธุ์ 50294700412
3. นายโอภาส คุ้มตะโก 50294700421
4. น.ส. สุธิมา ธรณี 50294700446
5. น.ส. ระวีวรรณ นิราพาธพงพร 0294700454

สังเวชนียสถาน (ตอนที่ ๒)


ห่างหายไปหลายเดือนหลังจากนำไปยังสังเวชนียสถานตอนที่ ๑ เดือนมีนาคม ผ่านไปประมาณ ๔ เดือน ซึ่งในตอนที่ ๑ ได้นำไปกราบสถานที่พระองค์ตรัสรู้ที่ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พุทธคยา และได้ขึ้นไปกราบพระพุทธเจ้าที่คันธกุฏีบนยอดเขาคิชฌกูฏแล้ว ในตอนที่ ๒ นี้ได้ลงมาแล้วได้แวะชมคุกที่พระเจ้าอชาตศัตรูใช้ขังพระเจ้าพิมพิสารซึ่งอยู่ใกล้เขาคิฌชกูฏ

หลังจากนั้นไปแวะที่ตโปทารามสถานที่อาบน้ำของคนฮินดู ได้แบ่งเป็นชั้น ๆ สำหรับคนแต่ละวรรณะ วรรณะพราหมณ์อยู่บนสุด กษัตรย์ แพศย์ และศูทร ตามลำดับ เสร็จแล้วไปยังวัดเวฬุวันซึ่งเป็นวัดแรกในพระพุทธศาสนาเป็นสถานที่พระองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ซึ่งถือว่าเป็นหลักการ วิธีการ และรูปแบบในการเผยแผ่พระศาสนาตลอดมา
ตอนที่ ๒ ขอหยุดไว้แค่นี้ก่อน ตอนที่ ๓ จะนำไปยังมหาวิทยาลัยนาลันทา ซื่งถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยแรกในโลกก็ว่าได้ และเป็นบ้านของอัครสาวกคือพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ไปกราบสังเวชนียสถานอีกที่หนึ่งคือสถานที่ปรินิพพานโปรดติดตามตอนต่อไป(ไม่สามารถบรรรยายใต้ภาพได้เนื่องจากรูปแบบของblog เปลี่ยนไป ต้องศึกษาวิธีการใหม่ต้องขออภัยด้วย)

















วันอาทิตย์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2553

รายงานกลุ่มวิชาจริยธรรมสำหรับนักบริหารท้องถิ่น

กล่มที่ ๑ จรรยาบรรณและคุณธรรมพื้นฐานกับการบริหารท้องถิ่น
๑. นายจักรเพชร ทวีศรี
๒. นายภานุ ตันติวุฒิ
๓. น.ส. ลลิตา วันแก้ว
๔. น.ส. ศุภมาศ ปานศรี
๕. นายณัฐพงษ์ ผู้พัฒน์
๖. น.ส. นุชจารี ใจดีเลิศ
๗. น.ส. จิตรวดี เกิดสมบุญ
๘. น.ส. วรรณพร สุวรรณศรี
กลุ่มที่ ๒ หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารท้องถิ่น
๑. น.ส. ณิชาปวีณ์ สิงหเสนี
๒. นายณัฐวุฒิ จันทะนัฏ
๓. นายพิชัยณรงค์ จันทร์กลิ่นหอม
๔. น.ส. ปรางทิพย์ จันทร์หอม
๕. น.ส. นุชจรินทร์ เส็งม่วง
๖. น.ส. วัชราภรณ์ มลวัง
๗. น.ส. รินทร์ลภัส บุญยืน
๘. น.ส. ณัฐิยา ปาลพันธ์
กลุ่มที่ ๓ วัฒนธรรมพื้นบ้านกับการบริหารท้องถิ่น
๑. นายวุฒิกร กาบเครือ
๒. นายศรัญ พานิชกุล
๓. นายนิวัฒน์ คงเปี่ยม
๔. น.ส. จุฑามาศ เพ็งยอด
๕. น.ส. พัชราภรณ์ เสวกพันธ์
๖. น.ส. สโรชา ยศสอน
๗. น.ส. รัชนีวรรณ สุขลักษณ์
๘. น.ส. นริศรา ทองทา
กลุ่มที่ ๔ หลักศาสนธรรมกับการบริหารท้องถิ่น
๑. นายวีระทัศน์ ทองแก้ว
๒. น.ส. เพชรเกล้า ทองนาค
๓. น.ส. นาตยา น้อยสกุล
๔. น.ส.กฤษณา พูลนิ่ม
๕. น.ส. วันเพ็ญ ปานเปีย
๖. นายชัยภัทร วัดอ่ำ
๗. นายภรัณยู ศิริมหันต์
๘. นายปิยะพงษ์ บุญมี
กลุ่มที่ ๕ ปัญหาและแนวทางแก้ไขในการบริหารท้องถิ่น
๑. น.ส. ระวีวรรณ ฉิมบรรเทิง
๒. นายพงษ์นรินทร์ ศรีอำไพ
๓. นายปานศักดิ์ นามา
๔. น.ส. จารุวรรณ สงบแท้
๕. น.ส. ปรียานุช ติระกาล
๖. น.ส. ปัทมาวดี คล้ายทรัพย์
๗. น.ส. กรรุจีย์ ใจภักดี
กลุ่มที่ ๖ หลักจริยศาสตร์กับการบริหารท้องถิ่น
๑. น.ส. พัชรินทร์ ประเสริฐภากร
๒. น.ส. ศิริลักษณ์ ปัญญาคำ
๓. น.ส. ดาราวีร์ รสฉำ
๔. น.ส. ศิริพันธ์ วนิดา
๕. น.ส. ยูรยรัตน์ บารมี
๖. นายภานุพงศ์ พลอยพราว

วันเสาร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2553

สังเวชนียสถาน ๔ ตำบล (ตอนที่ ๑)

กระทำประทักษิณรอบพระมูลคันธกุฏีบนเขาคิชฌกูฏ (ตอนที่ ๑ ขอหยุดไว้แค่นี้ก่อน สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ ทุกท่าน ส่วนต่อไปจะนำไปจาริกบุญกันต่อโปรดติดตามนะครับ)
ถ่ายภาพหมู่ด้านหลังพระมูลคันธกุฏี
อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ สฺวากฺขาโต ภควโต ธมฺโม สุปฎิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ กระทำประทักษิณ ๓ รอบพระมูลคันธกุฎี

กุฏีของพระอานนท์ พุทธอุปัฏฐาก ซึ่งอยู่หน้าพระมูลคันธกุฎี

ยอดเขาคิชฌกูฏ ซึ่งดูจากภาพเห็นว่าเหมือนกับหัวแร้ง ซึ่งเป็นที่มาของเขานี้



ถ้าสุกรขาตา ที่อยู่ของอัครสาวกเบื้องขวาคือพระสารีบุตร ซึ่งเป็นผู้มีปัญญามากและยอดกตัญญู สถานที่นี้พระพุทธองค์ได้ตรัสแสดงธรรมเรื่องเวทนาปริคคหสูตรแก่ทีฆนขอัคคิเวสสนโคตรปริพาชก ผู้ประกาศตนว่าตนไม่ยึดถือทัศนะใด ๆ พระสารีบุตรกำลังนั่งถวายงานพัดดำรงสติระตามกระแสธรรมด้วยปัญญาอันยิ่งเมื่อจบพระธรรมเทศนา จิตก็หลุดพ้นจากอาสวะกิเลสทั้งหลายได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ณ ถ้ำสุกรขาตาแห่งนี้ หลังจากอุปสมบทแล้ว ๑๕ วัน



หน้าถ้ำพระมหาโมคคัลลานะ อัครสาวกเบื้องซ้าย เป็นผู้เลิศในทางมีฤทธิ์มาก ทั้งพระสารีบุตรและมหามหาโมคคัลลานะจัดได้ว่าเป็นมือขวามือซ้ายของพระพุทธองค์ก็ว่าได้



ในกลุ่มของผู้จาริกธรรมในครั้งนี้มีผู้อายุน้อยที่สุดคือคุณยายเกลื่อม ขุนนัดเชียร ดังนั้นในการขึ้นยอดเขาคิชฌกูฏจำเป็นต้องอาศัยบาบูสองคนหามขึ้นไปจนถึงหน้ามูลคันธกุฏี ค่าหาม ๘๐๐ รูปี บวกค่าทิปอีก ๑๐๐ รูปี รวม ๙๐๐ รูปี



ถ่ายรูปหน้าเจดีย์พุทธคยาก่อนกลับ


รอยพระพุทธบาทจำลองด้านหน้าเจดีย์พุทธคยา


สระมุจลินทร์ เป็นสถานที่พระพุทธองค์เสวยวิมุตติสุขประทับที่โคนไม้มุจลินทร์เป็นเวลา ๗ วัน ในช่วงนั้นมีพายุฝนตกพรำตลอด ๗ วัน พระยามุจลินทนาคราชได้เข้าถวายอารักขาด้วยการแผ่พังพานพร้อมด้วยขนด ๗ รอบ เมื่อฝนหยุดตกแล้วพระยานาคราชจำแลงรูปเป็นมาณพหนุ่มถวายนมัสการ ณเบื้องพระพักตร์ของพระพุทธองค์


เสาพระเจ้าอโศกและเจดีย์พุทธคยาถ่ายด้านหน้าสระมุจลินทร์ (คุณยายและคนติดตาม ทส.)

คุณพี่ดุษณี ผู้ร่วมจาริกบุญในครั้งนี้มาพร้อมคุณพี่ธวัชชัย

รัตนจงกรมเจดีย์ ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือ มีหินทรายสลักเป็นดอกบัวบาน จำนวน ๑๙ ดอก เป็นที่พระพุทธองค์เสวยวิมุตติสุขในสัปดาห์ที่ ๓ อยู่ระหว่างต้นพระศรีมหาโพธิ์กับอนิมิสเจดีย์ พระองค์เสด็จจงกรมอยู่ตลอด ๗ วัน



กราบและปิดทองต้นพระศรีมหาโพธิ์


ครอบครัวบุญมาทั้งหมด ๕คนบวกหนึ่ง เดินกระทำประทักษิณอย่างมีความสุข อิ่มบุญกันถ้วนหน้า


หลังจากสวดมนต์เจริญสมาธิภาวนาเสร็จแล้วกระทำประทักษิณรอบพระเจดีย์และต้นพระศรีมหาโพธิ์แล้วบูชาปิดทองต้นพระศรีมหาโพธิ์

พระมหาน้อย บนยอดเขาคิชฌกูฏ ใกล้มูลคันธกุฎีของพระพุทธเจ้า

พระมหาปรีชา กตปุญฺโญ (บรรยายใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์) หรือท่านเรียกตัวท่านเองว่าพระมหาน้อย ผู้ทำหน้าที่มัคคุเทศก์ในวันที่๑ และวันที่ ๒ (๒๐-๒๑) ท่านได้ทำหน้าที่ได้อย่างดีมากทำให้ผู้จาริกบุญทุกคนได้ทั้งศรัทธาและปัญญาไปพร้อม ๆ กัน ช่วงที่ท่านทำหน้าที่ท่านให้คำแนะนำสำหรับการไปกราบสังเวชนียสถานทุกที่ให้ระวังเรื่องของขอทานและคนขายของ ให้ถือหลัก ๓ อย่างคือ ๑. ไม่มองหน้า ๒.ไม่สบตา และ ๓. ไม่เจรจาด้วย
หลัก ๓ อย่างถือว่าใช้ได้อย่างได้ผล ประวัติย่อของท่านจากการที่ผมได้เข้าไปกราบตอนค่ำของวันที่ ๒๑ มี.ค. ๒๕๕๓ ทราบว่าท่านเป็นศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยมหามุกฏราชวิทยาลัย (มมร.) รุ่นที่๔๒ ซึ่งถือว่าเป็นรุ่นน้องของผมปีหนึ่ง ท่านเรียนจบปริญญาเอก ๓ ใบ บวชมา ๓๘ พรรษาแล้ว สำหรับส่วนตัวผมเองประทับใจในการทำหน้าที่ของท่านมาก และถือว่าท่านเป็นธรรมทูตที่ดีเยียมซึ่งคุณไทย (คนทำหน้าที่มัคคุเทศก์ในวัน ๓-๗ ได้ยกย่องท่านว่าเป็นขั้นเทพเชียวล่ะ)


ถ่ายภาพร่วมกัน ดูจากหน้าตาของแต่ละคนอิ่มบุญ แม้ว่าจะเหนื่อยจากการเดินทางมาจากเมืองไทย แต่พลังบุญและพลังใจเต็มเปี่ยมเติมเต็มทุกคน
สวดธัมมจักกัปปวัตนสูตร (เอวมฺเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา ฯลฯ อโหสีติ) สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ

พระมหาปรีชา กตปุญฺโญ นำสวดมนต์ สวดบทธรรมจักกัปปวัตนสูตร แล้วนั่งสมาธิเจริญภาวนา ในขณะนั่งทุกคนสัมผัสได้ถึงความสงบและที่อัศจรรย์คือใบต้นพระศรีมหาโพธิ์ร่วงตกลงมาหน้าผู้ร่วมจาริกบุญทุกคน ทำให้ทุกคนได้ใบโพธิ์มากมายหลายใบ ซึ่งสังเกตว่าในวันสุดท้ายที่กลุ่มเรากลับเข้าไปกราบลาที่นี่อีกครั้งพบว่าใบต้นพระศรีมหาโพธิ์ร่วงลงเกือบหมดแล้วถือได้ว่าเป็นความโชคดีของกลุ่มของเราก็ว่าได้




ถ่ายรูปร่วมกันหน้าหลวงพ่อพุทธเมตตา

หลวงพ่อพระพุทธเมตตาภายในเจดีย์พุทธคยา น่าจะสร้างขึ้นในสมัยปาละ มีอายุกว่า ๑,๔๐๐ ปี เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย มหาเจดีย์พุทธคยา ซึ่งสันนิษฐานกันว่าพระเจ้าอโศกมหาราชสร้างขึ้นไว้ก่อนคงขนาดเล็กกว่านี้ต่อมาคงมีการต่อเติมและบูรณะปฏิสังขรกันต่อมาตามยุคสมัย เจดีย์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของต้นพระศรีมหาโพธิ์

สถานที่พระมหาบุรุษทรงอธิษฐานลอยถาดข้าวมธุปายาสที่ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา (น้ำแห้งมีแต่ทรายซึ่งทางคณะเราไปช่วงหน้าแล้งพอดี) แล้วเสด็จไปยังต้นพระศรีมหามหาโพธิ์ซึ่งมองเห็นเจดีย์พุทธคยาอยู่ด้านหลัง


วัวถือว่าเป็นทั้งพระเจ้าเป็นทั้งผู้ช่วยผลิตสินค้าโอทอปและช่วยไถนา (ประโยชน์มากจริง ๆ)


หน้าบ้านของคนอินเดียจะมีสินค้าโอทอปแปะอยู่หน้าบ้าน พร้อมผูกผู้ผลิตไว้ด้วยเป็นการแสดงให้เห็นฐานะของเจ้าของบ้าน

บ้านนางสุชาดาผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระมหาบุรุษก่อนตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า