วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

การบ้านศาสนาเปรียบเทียบ

ให้นักศึกษาอ่านเอกสารที่อาจารย์แจกในวันนี้แล้วสรุปมาเพื่ออภิปรายในวันพุธหน้า
สรุปพิมพ์ส่งผ่านบล๊อกนี้ด้วย
ภูมิกิติ จารุธนนนท์

14 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

นักศึกษาเอกสังคมศึกษาเข้ามาส่งการบ้านหรือแสดงความคิดเห็นได้ทางบล๊อกนี้

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

สรุป
กระบวนการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ
ศาสนาเปรียบเทียบมีบ่อเกิดและค่อยๆ มีพัฒนาการและปรากฏขึ้นตามธรรมชาติ เกิดจากสาเหตุสำคัญดังต่อไปนี้

1.เกิดจากธรรมชาติของความกลัว ความอยากรู้ของมนุษย์
2.เกิดเพราะมนุษย์โลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น
3.เกิดจากผลการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ
4.เกิดเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
5.เกิดจากการพยายามจะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตน ต่อผู้มีอารยธรรมต่างกับตน

วิชาศาสนาเปรียบเทียบ โดยอาศัยปรัชญา (ความเป็นมา)

-การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
-การบันทึกข้อมูล
-รู้สึกเชิงเปรียบเทียบ

ขอบข่าย เนื้อหา และวิธีการของศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบเป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ,ศาสนสถาน ,พิธีกรรม ตลอดจนการดำเนินชีวิตของศาสนชน การคิดการไตร่ตรอง และการตรัสรู้ของศาสดาในศาสนาเหมือนปรัชญาทั่วไป เนื้อหาที่เกิดขึ้นจากศาสดาในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันซึ่งเป็นเนื้อหาที่มีอยู่แล้ว การเปรียบเทียบศาสนาประเด็นต่างๆ ของการศึกษาในทุกวัฒนธรรมจะได้รับการทดสอบและทำให้บริสุทธิ์ จากการเปลี่ยนแปลงเรื่อยๆ จนหล่อหลอมเข้ากันเป็นหนึ่งเดียว ได้พบข้อสังเกตที่เกี่ยวกับวิธีการเปรียบเทียบประการหนึ่ง คือ
“มักจะใช้วิธีการสังเกตความคล้ายคลึงและความแตกต่างเป็นหลัก”




นายอลงกรณ์ งามกุศล
สาขาวิชา สังคมศึกษา
รหัส 491171106

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กระบวนการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ

หัวข้อต่าง ๆ ที่นำมาพิจารณาเปรียบเทียบกระบวนการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ คือ
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
1.1 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดจากธรรมชาติของความกลัว และความอยากรู้ของมนุษย์ วิธีการนี้เป็นที่สนใจของนักวิชาการตะวันตกมากโดยใช้คำว่า Analogy คืออุปมานเป็นบ่อเกิดของความรู้ประการหนึ่ง ถ้าหากยอมรับว่าการเปรียบเทียบเป็นการแสวงหาความรู้ของมนุษย์
1.2 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะมนุษย์โลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น การพบปะจึงทำให้เป็นเหตุเกิดการศึกษาวัฒนธรรม และความคิดเกิดขึ้น
1.3 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะผลจากการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ ผลจากการศึกษานี้ได้ทำให้เกิดภาษาเปรียบเทียบขึ้น และทำให้เกิดศาสนาเปรียบเทียบ และปรัชญาเปรียบเทียบขึ้นตามลำดับ
1.4 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
1.5 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะความพยายามที่จะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตนต่อผู้ที่มีอารยธรรมต่างกับตน
2. ประวัติความเป็นมาของวิชาศาสนาเปรียบเทียบ โดยอาศัยปรัชญา
แม้จะยอมรับว่า Max muller เป็นนักวิชาการคนแรก ที่ได้ทำการนำเอาวัฒนธรรมต่าง ๆ มาศึกษา ว่าการเปรียบเทียบได้เป็นวิธีการอย่างหนึ่งในการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ดังกล่าวแล้ว ศาสนาเปรียบเทียบที่แท้จริงน่าจะเริ่มต้นจากการที่บุคคลในวัฒนธรรมหนึ่งได้สัมผัสกับอีกวัฒนธรรมหนึ่ง
2.1 ศาสนาเปรียบเทียบในตะวันตก ไวท์เฮดมีความคิดคล้าย ๆ กันว่า ปรัชญาตะวันตกปัจจุบันนี้ได้ไม่มากกว่าเป็นเชิงอรรถ ของปรัชญาเพลโต
2.2 ศาสนาเปรียบเทียบในอินเดีย ศาสนาเปรียบเทียบเจริญควบคู่กันไปกับปรัชญาเปรียบเทียบ
2.3 ศาสนาเปรียบเทียบในจีน เป็นการเปรียบเทียบความคิดภายในวัฒนธรรมตนเอง และเปรียบเทียบความคิดของตนกับของอินเดียเป็นส่วนใหญ่
3. ขอบข่ายเนื้อหาและวิธีการของศาสนาเปรียบเทียบ
3.1 ขอบข่าย ศาสนาเปรียบเทียบเป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนสถาน พิธีกรรม ตลอดจน ตลอดจนการดำเนินชีวิตของศาสนา
3.2 เนื้อหา การคิดการไตร่ตรอง และการตรัสรู้ของศาสดาในศาสนาเหมือนปรัชญาทั่วไป เนื้อหาที่เกิดขึ้นจากศาสดาในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันซึ่งเป็นเนื้อหาที่มีอยู่แล้ว การเปรียบเทียบศาสนาประเด็นต่าง ๆ ของการศึกษาในทุกวัฒนธรรมจะได้รับการทอสอบและทำให้บริสุทธิ์ จากการเปลี่ยนแปลงขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็อาจสามารถหล่อหลอมให้เข้ากันได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งหากได้มีการกระถึงขั้นที่สมบูรณ์แล้ว โดยอาจมีหลักปรัชญาสำหรับยึดถือเป็นสากลร่วมกัน อันจะเป็นผลทำให้เกิดเอกภาพและสันติที่ควรเกิดขึ้นได้ เช่น การเสวนาธรรมของแต่ละศาสนา และการปฏิบัติตามคำสอนของศาสนาอย่างแน่วแน่และต่อเนื่อง
3.3 วิธีการ ได้พบข้อสังเกตที่เกี่ยวกับวิธีการเปรียบเทียบประการหนึ่ง คือ มักจะใช้วิธีการสังเกตความคล้ายคลึงและความแตกต่างเป็นหลัก


ก. ทัศนคติ
สเตชเองก็ยอมรับว่า ความคิดที่ว่าปรัชญา และศาสนาไม่มีสิ่งร่วมกันและแยกกันอย่างสิ้นเชิง นับเป็นความคิดที่ผิด
ผู้ศึกษาศาสนาเปรียบเทียบจะต้องพร้อมที่จะยอมรับความจริงใหม่ ๆ ค้นพบจากการเปรียบเทียบ ซึ่งความจริงที่ค้นพบใหม่นี้จะเข้ามาแทนที่ความจริงที่ได้ยอมรับมาก่อน ดังนั้นทัศนคติของนักปรัชญาศาสนาในแง่นี้จำต้องทำการศึกษาเปรียบเทียบด้วยจิตใจที่เป็นอิสระอย่างแท้จริงมีความซื่อตรงต่อข้อสรุปที่ตนได้รับไม่ว่าจะเป็นแง่รับหรือปฏิเสธ หากผู้ศึกษาเปรียบเทียบขนาดทัศนคตินี้ การเปรียบเทียบน่าจะมีค่าเท่ากับการไม่เปรียบเทียบ เพราะยังมีทัศนะเท่าเดิมเหมือนเมื่อยังไม่ได้เปรียบเทียบ และไม่ได้เกิดการเจริญงอกงามหรือเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใด
ข. ศิลปะวิธี
ถ้าศาสนาเปรียบเทียบซึ่งอาศัยปรัชญาเป็นวิธีการศึกษาศิลปะวิธีที่นำมาใช้ก็เพียงเปิดเผยความคล้ายคลึง
หรือแสดงความศิลปวิธีที่นำมาใช้ก็เป็นศิลปวิธีทั้งหมดของปรัชญา ศิลปะวิธีต่าง ๆ ที่นำมาใช้นอกเหนือจากการเปรียบเทียบคือ
1. มีการอ้างเหตุผล
2. มีการแสดงออกทางความคิดอย่างมีระบบ
3. มีการคิดในลักษณะที่เรียกว่าการแสวงหาโลกทัศน์ที่เหมาะสม
4. มีการวิพากษ์และการคาดคะเน
5. มีการตีความหมายใหม่และการตีค่า
6. มีการวิเคราะห์การสังเคราะห์
7. มีการใช้ภาษาของตน
8. มีการสร้างสรรค์ด้วยจิตที่กล้าหาญและเผชิญภัย

นางสาวพรทิพย์ กลิ่นศรีสุข
491171109

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กระบวนการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
1.1 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดจากธรรมชาติของความกลัว และความอยากรู้ของมนุษย์
1.2 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะมนุษย์โลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น มีการพบประสังสรรค์กันเป็นเหตุให้เกิดการศึกษาวัฒนธรรม การศึกษาศาสนาเปรียบเทียบมีจุดหมุ่งหมาย 3 ประการ คือ
- เพื่อทำความเข้าใจและเทียบเคียงความคิดและวัฒนธรรม
- เพื่อแสวงหาประโยชน์และเพิ่มเติมข้อบกพร่องจากกันและกัน
- เพื่อสร้างสรรคความผูกพันธ์ทางอารมณ์
1.3 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะผลจากการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ
1.4 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
1.5 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะความพยายามที่จะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตนต่อผู้ที่มีอารยธรรมต่างจากตน เกิดจากผลงานของเมธีตะวันออกที่เขียนอธิบายวัฒนธรรมแบบอุปมาเปรียบเทียบ
2. ประวัติความเป็นมาของวิชาศาสนาเปรียบเทียบโดยอาศัยปรัชญา
Max Muller เป็นนักวิชาการที่ยอมรับการเปรียบเทียบเป็นวิธีอย่างหนึ่งในการแสวงหาความรู้ ศาสนาเปรียบเทียบเกิดจากบุคคลในวัฒนธรรมหนึ่งได้สัมผัสกับอีกวัฒนธรรมหนึ่ง
2.1 ศาสนาเปรียบเทียบในตะวันตก มี Max Muller เป็นผู้นำการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ แต่มิได้มีประโยชน์ต่อชาวตะวันตก ความสนใจในศาสนาตะวันออกจำกดอยู่แต่ชาวตะวันออก เพราะอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ชาวตะวันตกจึงยกตัวเองว่าเหนือกว่าตะวันออกล้าหลัง
2.2 ศาสนาเปรียบเทียบในอินเดีย การศึกษาปรัชญาของอินเดีย คือ การศึกษาศาสนา ส่วนปรัชญาเป็นความรู้สากล ต่อมาได้รับอิทธิพลจากปรัชญาตะวันตกเรื่องการเทียบเคียงความคิดทางศาสนา ศาสนาเปรียบเทียบจึงเจริญควบคู่ไปกับปรัชญาเปรียบเทียบ ในแง่หลักการและวิธีการ
2.3 ศาสนาเปรียบเทียบในจีน เกิดขึ้นเมื่อพุทธศาสนาแพร่เข้าไปกระทบกับวัฒนธรรมเดิม เป็นการเปรียบเทียบความคิดภายในวัฒนธรรมตนเองและอินเดียเป็นส่วนใหญ่
3. ขอบข่าย เนื้อหา และวิธีการของศาสนาเปรียบเทียบ
3.1 ขอบข่าย เป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
3.2 เนื้อหา การเปรียบเทียบ การคิดไตร่ตรอง และการตรัสรู้เหมือนปรัชญาทั่วไปและประเด็นต่างๆ
3.3 วิธีการ ต้องมีทัศนคติยอมรับว่าปรัชญาอยู่ในวัฒนะธรรมทุกชาติ ศิลปวิธีต่างๆ ที่ใช้นอกจากการเปรียบเทียบ คือ
1. มีการอ้างเหตุผล
2. มีการแสดงออกทางความคิดอย่างมีระบบ
3. มีการคิดที่มีลักษณะที่เรียกว่าการแสวงหาโลกทัศน์ที่เหมาะสม
4. มีการวิพากษ์และการคาดคะเน
5. มีการตีความหมายใหม่และการตีค่า
6. มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
7. มีการใช้ภาษาของตน
8. มีการสร้างสรรค์ด้วยจิตที่กล้าหาญและเผชิญภัย

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

สุนิษา อินทรโชติ

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กระบวนการศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ
วิชาการเปรียบเทียบ ได้พัฒนาขึ้นเป็นวิชาประวัติศาสตร์เมื่อ ค.ศ.1873 คำว่า “เปรียบเทียบ” กำหนดลักษณะของวิชา เช่นเดียวกับสาสนาเปรียบเทียบอื่น ๆ มีลักษณะพิเศษโดยเฉพาะ ซึ่งมีหัวข้อต่าง ๆ คือ
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
2. ประวัติความเป็นมาของสาสนาเปรียบเทียบ
3. ขอบขาย เนื้อหาและวิธีการของสาสนาเปรียบเทียบ
4. ปัญหาต่าง ๆ ของวิชาสาสนาเปรียบเทียบ
5. วิธีการศึกาเปรียบเทียบ
6. กรรีศึกษา “ศาสนาในฐานะเป็นสาขาวิชา
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
การเกิดขึ้นของศาสนาเปรียบเทียบ ค่อย ๆ พัฒนาการปรากฎโฉมหน้าเป็นวิชาขึ้นตามธรรมชาติ
1.1 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นจากธรรมชาติของความกลัว และความอยากรู้ของมนุษย์
1.2 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะมนุษยโลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น
1.3 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะผลจากการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ
1.4 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
1.5 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะความพยายามที่จะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตนต่อผู้ที่มีอารยธรรม
2. ประวัติความเป็นมาของสาสนาเปรียบเทียบ โดยอาศัยปรัชญา
ศาสนาเปรียบเทียบที่แท้จริงน่าจะเริ่มต้นจากการที่บุคคลในวัฒนธรรมหนึ่งได้สัมผัสกับอกีวัฒนธรรมหนึ่ง
3. ขอบขาย เนื้อหาและวิธีการของสาสนาเปรียบเทียบ
3.1 ขอบข่าย
ศาสนาเปรียบเทียบเป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป้นศาสนธรรม ศาสนาบุคคล ศาสนสถาน พิธีกรรม ตลอดจนวิธีดำเนิดชีวิตของศาสนชน

3.2 เนื้อหา
การคิดไตร่ตรอง และการตรัสรู้ของศาสดาในศาสนาเหมือนปรัชญาทั่วไป การเปรียบเทียบศาสนาในประเด็นต่าง ๆ ของการศึกษาในทุกวัฒนธรรมจะได้รับการทดสอบและทำให้บริสุทธิ์ จากการเปลี่ยนแปลงขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็สามารถหล่อหลอมให้เข้ากันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
3.3 วิธีการ
ได้พบข้อสังเกตที่เกี่ยวกับวิธีการเปรียบเทียบประการหนึ่ง คือมักจะใช้วิธีการสังเกตความคล้ายคลึงและความแตกต่างเป็นหลัก วิธีการที่น่าจะเหมาะสมสำหรับวิชาเปรียบเทียบนี้น่าจะกำหนดได้ 2 หัวข้อ
ก. ทัศนคติ
ข. ศิลปวิธี



นางสาว ราชินู หมอบอก
491171104 สังคมศึกษา

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กระบวนการศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ
วิชาการเปรียบเทียบ ได้พัฒนาขึ้นเป็นวิชาประวัติศาสตร์เมื่อ ค.ศ.1873 คำว่า “เปรียบเทียบ” กำหนดลักษณะของวิชา เช่นเดียวกับสาสนาเปรียบเทียบอื่น ๆ มีลักษณะพิเศษโดยเฉพาะ ซึ่งมีหัวข้อต่าง ๆ คือ
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
การเกิดขึ้นของศาสนาเปรียบเทียบ ค่อย ๆ พัฒนาการปรากฎโฉมหน้าเป็นวิชาขึ้นตามธรรมชาติ
1.1 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นจากธรรมชาติของความกลัว และความอยากรู้ของมนุษย์
1.2 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะมนุษยโลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น
1.3 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะผลจากการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ
1.4 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
1.5 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะความพยายามที่จะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตนต่อผู้ที่มีอารยธรรม
2. ประวัติความเป็นมาของสาสนาเปรียบเทียบ โดยอาศัยปรัชญา
ศาสนาเปรียบเทียบที่แท้จริงน่าจะเริ่มต้นจากการที่บุคคลในวัฒนธรรมหนึ่งได้สัมผัสกับอกีวัฒนธรรมหนึ่ง
3. ขอบขาย เนื้อหาและวิธีการของสาสนาเปรียบเทียบ
3.1 ขอบข่าย
ศาสนาเปรียบเทียบเป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป้นศาสนธรรม ศาสนาบุคคล ศาสนสถาน พิธีกรรม ตลอดจนวิธีดำเนิดชีวิตของศาสนชน

3.2 เนื้อหา
การคิดไตร่ตรอง และการตรัสรู้ของศาสดาในศาสนาเหมือนปรัชญาทั่วไป การเปรียบเทียบศาสนาในประเด็นต่าง ๆ ของการศึกษาในทุกวัฒนธรรมจะได้รับการทดสอบและทำให้บริสุทธิ์ จากการเปลี่ยนแปลงขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็สามารถหล่อหลอมให้เข้ากันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
3.3 วิธีการ
ได้พบข้อสังเกตที่เกี่ยวกับวิธีการเปรียบเทียบประการหนึ่ง คือมักจะใช้วิธีการสังเกตความคล้ายคลึงและความแตกต่างเป็นหลัก วิธีการที่น่าจะเหมาะสมสำหรับวิชาเปรียบเทียบนี้น่าจะกำหนดได้เ)น 2 หัวข้อ
ก. ทัศนคติ
ข. ศิลปวิธี


นางสาว สุจิตรา เชี่ยวการค้า
491171111 สังคมศึกษา

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กระบวนการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
1.1 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดจากธรรมชาติของความกลัว และความอยากรู้ของมนุษย์
1.2 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะมนุษย์โลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น มีการพบประสังสรรค์กันเป็นเหตุให้เกิดการศึกษาวัฒนธรรม การศึกษาศาสนาเปรียบเทียบมีจุดหมุ่งหมาย 3 ประการ คือ
- เพื่อทำความเข้าใจและเทียบเคียงความคิดและวัฒนธรรม
- เพื่อแสวงหาประโยชน์และเพิ่มเติมข้อบกพร่องจากกันและกัน
- เพื่อสร้างสรรคความผูกพันธ์ทางอารมณ์
1.3 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะผลจากการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ
1.4 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
1.5 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะความพยายามที่จะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตนต่อผู้ที่มีอารยธรรมต่างจากตน เกิดจากผลงานของเมธีตะวันออกที่เขียนอธิบายวัฒนธรรมแบบอุปมาเปรียบเทียบ
2. ประวัติความเป็นมาของวิชาศาสนาเปรียบเทียบโดยอาศัยปรัชญา
Max Muller เป็นนักวิชาการที่ยอมรับการเปรียบเทียบเป็นวิธีอย่างหนึ่งในการแสวงหาความรู้ ศาสนาเปรียบเทียบเกิดจากบุคคลในวัฒนธรรมหนึ่งได้สัมผัสกับอีกวัฒนธรรมหนึ่ง
2.1 ศาสนาเปรียบเทียบในตะวันตก มี Max Muller เป็นผู้นำการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ แต่มิได้มีประโยชน์ต่อชาวตะวันตก ความสนใจในศาสนาตะวันออกจำกดอยู่แต่ชาวตะวันออก เพราะอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ชาวตะวันตกจึงยกตัวเองว่าเหนือกว่าตะวันออกล้าหลัง
2.2 ศาสนาเปรียบเทียบในอินเดีย การศึกษาปรัชญาของอินเดีย คือ การศึกษาศาสนา ส่วนปรัชญาเป็นความรู้สากล ต่อมาได้รับอิทธิพลจากปรัชญาตะวันตกเรื่องการเทียบเคียงความคิดทางศาสนา ศาสนาเปรียบเทียบจึงเจริญควบคู่ไปกับปรัชญาเปรียบเทียบ ในแง่หลักการและวิธีการ
2.3 ศาสนาเปรียบเทียบในจีน เกิดขึ้นเมื่อพุทธศาสนาแพร่เข้าไปกระทบกับวัฒนธรรมเดิม เป็นการเปรียบเทียบความคิดภายในวัฒนธรรมตนเองและอินเดียเป็นส่วนใหญ่
3. ขอบข่าย เนื้อหา และวิธีการของศาสนาเปรียบเทียบ
3.1 ขอบข่าย เป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
3.2 เนื้อหา การเปรียบเทียบ การคิดไตร่ตรอง และการตรัสรู้เหมือนปรัชญาทั่วไปและประเด็นต่างๆ
3.3 วิธีการ ต้องมีทัศนคติยอมรับว่าปรัชญาอยู่ในวัฒนะธรรมทุกชาติ ศิลปวิธีต่างๆ ที่ใช้นอกจากการเปรียบเทียบ คือ
1. มีการอ้างเหตุผล
2. มีการแสดงออกทางความคิดอย่างมีระบบ
3. มีการคิดที่มีลักษณะที่เรียกว่าการแสวงหาโลกทัศน์ที่เหมาะสม
4. มีการวิพากษ์และการคาดคะเน
5. มีการตีความหมายใหม่และการตีค่า
6. มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
7. มีการใช้ภาษาของตน
8. มีการสร้างสรรค์ด้วยจิตที่กล้าหาญและเผชิญภัย

สุนิษา อินทรโชติ
สังคมศึกษา
491171108

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กระบวนการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ

1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
1.1 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดจากธรรมชาติของความกลัว 1.2 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะมนุษย์โลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น การพบปะจึงทำให้เป็นเหตุเกิดการศึกษาวัฒนธรรม และความคิดเกิดขึ้น
1.3 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะผลจากการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ
1.4 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
1.5 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะความพยายามที่จะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตนต่อผู้ที่มีอารยธรรมต่างกับตน
2. ประวัติความเป็นมาของวิชาศาสนาเปรียบเทียบ โดยอาศัยปรัชญา
2.1 ศาสนาเปรียบเทียบในตะวันตก ไวท์เฮดมีความคิดคล้าย ๆ กันว่า ปรัชญาตะวันตกปัจจุบันนี้ได้ไม่มากกว่าเป็นเชิงอรรถ ของปรัชญาเพลโต
2.2 ศาสนาเปรียบเทียบในอินเดีย ศาสนาเปรียบเทียบเจริญควบคู่กันไปกับปรัชญาเปรียบเทียบ
2.3 ศาสนาเปรียบเทียบในจีน เป็นการเปรียบเทียบความคิดภายในวัฒนธรรมตนเอง และเปรียบเทียบความคิดของตนกับของอินเดียเป็นส่วนใหญ่
3. ขอบข่ายเนื้อหาและวิธีการของศาสนาเปรียบเทียบ
3.1 ขอบข่าย ศาสนาเปรียบเทียบเป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนสถาน พิธีกรรม ตลอดจน ตลอดจนการดำเนินชีวิตของศาสนา
เนื้อหา การคิดการไตร่ตรอง และการตรัสรู้ของศาสดาในศาสนาเหมือนปรัชญาทั่วไป เนื้อหาที่เกิดขึ้นจากศาสดาในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันซึ่งเป็นเนื้อหาที่มีอยู่แล้ว
วิธีการ ได้พบข้อสังเกตที่เกี่ยวกับวิธีการเปรียบเทียบประการหนึ่ง คือ มักจะใช้วิธีการสังเกตความคล้ายคลึงและความแตกต่างเป็นหลัก


ทัศนคติ
สเตชเองก็ยอมรับว่า ความคิดที่ว่าปรัชญา และศาสนาไม่มีสิ่งร่วมกันและแยกกันอย่างสิ้นเชิง นับเป็นความคิดที่ผิด
ผู้ศึกษาศาสนาเปรียบเทียบจะต้องพร้อมที่จะยอมรับความจริงใหม่ ๆ ค้นพบจากการเปรียบเทียบ ซึ่งความจริงที่ค้นพบใหม่นี้จะเข้ามาแทนที่ความจริงที่ได้ยอมรับมาก่อน
ศิลปะวิธี
ถ้าศาสนาเปรียบเทียบซึ่งอาศัยปรัชญาเป็นวิธีการศึกษาศิลปะวิธีที่นำมาใช้ก็เพียงเปิดเผยความคล้ายคลึง
หรือแสดงความศิลปวิธีที่นำมาใช้ก็เป็นศิลปวิธีทั้งหมดของปรัชญา ศิลปะวิธีต่าง ๆ ที่นำมาใช้นอกเหนือจาก

นางสาวรุ้งเพชร ปฐมทศพร
491171105

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กระบวนการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
1.1 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดจากธรรมชาติของความกลัว และความอยากรู้ของมนุษย์
1.2 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะมนุษย์โลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น
1.3 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะผลจากการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ
1.4 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
1.5 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะความพยายามที่จะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตนต่อผู้ที่มีอารยธรรมต่างจากตน
2. ประวัติความเป็นมาของวิชาศาสนาเปรียบเทียบโดยอาศัยปรัชญา
2.1 ศาสนาเปรียบเทียบในตะวันตก มี Max Muller เป็นผู้นำการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ แต่มิได้มีประโยชน์ต่อชาวตะวันตก
2.2 ศาสนาเปรียบเทียบในอินเดีย การศึกษาปรัชญาของอินเดีย คือ การศึกษาศาสนา ส่วนปรัชญาเป็นความรู้สากล
2.3 ศาสนาเปรียบเทียบในจีน เกิดขึ้นเมื่อพุทธศาสนาแพร่เข้าไปกระทบกับวัฒนธรรมเดิม เป็นการเปรียบเทียบความคิดภายในวัฒนธรรมตนเองและอินเดียเป็นส่วนใหญ่
3. ขอบข่าย เนื้อหา และวิธีการของศาสนาเปรียบเทียบ
3.1 ขอบข่าย เป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
3.2 เนื้อหา การเปรียบเทียบ การคิดไตร่ตรอง และการตรัสรู้เหมือนปรัชญาทั่วไปและประเด็นต่างๆ
3.3 วิธีการ ต้องมีทัศนคติยอมรับว่าปรัชญาอยู่ในวัฒนะธรรมทุกชาติ

สุภาวดี พรมโสภา
สังคมศึกษา
491171103

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

กระบวนการศาสนาเปรียบเทียบอย่างวิชาการ

วิชาการเปรียบเทียบ ได้พัฒนาขึ้นเป็นวิชาประวัติศาสตร์เมื่อ ค.ศ.1873 คำว่านับเป็นปรากฎการณ์อย่างหนึ่งของวิชาการต่างๆ เช่น ภาษาเปรียบเทียบ วัฒนธรรมเปรียบเทียบ แม้จะมีคำว่า “เปรียบเทียบ” กำหนดลักษณะของวิชา เช่นเดียวกับสาสนาเปรียบเทียบอื่น ๆ แต่ก็มีลักษณะพิเศษของตนโดยเฉพาะ มีลักษณะพิเศษโดยเฉพาะ ซึ่งมีหัวข้อต่าง ๆ คือ
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
2. ประวัติความเป็นมาของสาสนาเปรียบเทียบ
3. ขอบขาย เนื้อหาและวิธีการของสาสนาเปรียบเทียบ
4. ปัญหาต่าง ๆ ของวิชาสาสนาเปรียบเทียบ
5. วิธีการศึกษาเปรียบเทียบ
6. กรณีศึกษา “ศาสนาในฐานะเป็นสาขาวิชา”
1. บ่อเกิดของการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
การเกิดขึ้นของศาสนาเปรียบเทียบ ค่อย ๆ พัฒนาการปรากฏโฉมหน้าเป็นวิชาขึ้นตามธรรมชาติ
1.1 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นจากธรรมชาติของความกลัว และความอยากรู้ของมนุษย์
1.2 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะมนุษยโลกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น
1.3 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะผลจากการศึกษาภาษาเปรียบเทียบและปรัชญาเปรียบเทียบ
1.4 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะการขยายขอบเขตของวิชาปรัชญา
1.5 ศาสนาเปรียบเทียบเกิดขึ้นเพราะความพยายามที่จะอธิบายวัฒนธรรมและความคิดของตนต่อผู้ที่มีอารยธรรมต่างกับตน
2. ประวัติความเป็นมาของสาสนาเปรียบเทียบ โดยอาศัยปรัชญา
Max Muller เป็นนักวิชาการคนแรกที่ยอมรับการเปรียบเทียบเป็นวิธีอย่างหนึ่งในการแสวงหาความรู้ ศาสนาเปรียบเทียบเกิดจากบุคคลในวัฒนธรรมหนึ่งได้สัมผัสกับอีกวัฒนธรรมหนึ่ง
2.1 ศาสนาเปรียบเทียบในตะวันตก ไวท์เฮดมีความคิดคล้าย ๆ กันว่า ปรัชญาตะวันตกปัจจุบันนี้ได้ไม่มากกว่าเป็นเชิงอรรถ ของปรัชญาเพลโต
2.2 ศาสนาเปรียบเทียบในอินเดีย ศาสนาเปรียบเทียบเจริญควบคู่ไปกับปรัชญาเปรียบเทียบ ในแง่หลักการและวิธีการ
2.3 ศาสนาเปรียบเทียบในจีน เป็นการเปรียบเทียบความคิดภายในวัฒนธรรมตนเอง และเปรียบเทียบความคิดของตนกับของอินเดียเป็นส่วนใหญ่
3. ขอบขาย เนื้อหาและวิธีการของสาสนาเปรียบเทียบ
3.1 ขอบข่าย
ศาสนาเปรียบเทียบเป็นการเปรียบเทียบความคิดที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป้นศาสนธรรม ศาสนาบุคคล ,ศาสนสถาน ,พิธีกรรม , ตลอดจนวิธีดำเนิดชีวิตของศาสนชนเท่าที่พบเห็นมักมีการเปรียบเทียบทัศนะเกี่ยวกับศาสนธรรมหรือศาสนาบุคคลของ 2 ศาสนาขึ้นไป

3.2 เนื้อหา
การคิดไตร่ตรอง และการตรัสรู้ของศาสดาในศาสนาเหมือนปรัชญาทั่วไปเนื้อหาที่เกิดขึ้นจากศาสดาในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันซึ่งเป็นเนื้อหาที่มีอยู่แล้ว การเปรียบเทียบศาสนาในประเด็นต่าง ๆ ของการศึกษาในทุกวัฒนธรรมจะได้รับการทดสอบและทำให้บริสุทธิ์ จากการเปลี่ยนแปลงขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดก็สามารถหล่อหลอมให้เข้ากันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
3.3 วิธีการ
ได้พบข้อสังเกตที่เกี่ยวกับวิธีการเปรียบเทียบประการหนึ่ง คือ มักจะใช้วิธีการสังเกตความคล้ายคลึงและความแตกต่างเป็นหลัก วิธีการที่น่าจะเหมาะสมสำหรับวิชาเปรียบเทียบนี้น่าจะกำหนดได้ 2 หัวข้อ
ก. ทัศนคติ
ข. ศิลปะวิธี

นางสาวศิริวรรณ สินนุสาสน์ รหัส 491171113 เอก สังคมศึกษา

Aiongkon Ngamkuson 491171106 กล่าวว่า...

(ต่อ)

ศาสนามีปรัชญาที่เรียกว่าการแสวงหาโลกทัศน์
ศาสนาจะพยายามมองคิดปัญหานั้นในทุกแง่มุม และมิได้พิจารณาปัญหาใดปัญหาเดียวโดยเฉพาะ แต่จะนำปัญหาอื่นที่เกี่ยวข้องเข้ามาพิจารณาด้วยเท่าที่จะทำได้
“จุดประสงค์ของปรัชญานั้น ก็เพื่อนำเอาผลของศาสตร์ต่างๆ มาเติมด้วยประสบการณ์ทางศาสนา และจริยศาสตร์เข้าไป”
ศาสนามีลักษณะวิพากษ์ และมีการคาดคะเน
การวิพากษ์ จะเป็นอาวุธทางปัญหาอันคมกล้าที่จะฟาดฟันอุปสรรคทางความคิด ส่วนการคาดคะเนจะสร้างที่พักพิงอันเหมาะสมตามความคิดของตนด้วยปรัชญา เพราการศึกษาศาสนาเกิดจากความประหลาดใจ ความกลัวต่อธรรมชาติ ทำให้ตนเป็นอิสระจากความเชื่อและความเคยชินเดิม

ศาสนามีการตีความหมายใหม่และการประเมินค่า
การประเมินค่าทำให้เกิดปรัชญาขึ้นในสาขาวิชาต่างๆ บางกรณีนักปรัชญาอาจเป็นผู้สร้างความคิดใหม่ขึ้นมาได้ แต่สร้างศาสนาไม่ได้ ไม่ว่าโดยการตีความหมายใหม่ ในการสร้างแนวคิดการศึกษาทุกสาขาวิชา เรามีธรรมชาติอย่างหนึ่งคือ การคิดหาเหตุผลจึงไม่อาจหลีกหนีการตีค่าได้
ศาสนาส่งเสริมการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการเปรียบเทียบ
การพูดและเขียนความทางศาสนานั้น นักศาสนามักจะใช้ศิลปะวิธีอย่างนักปรัชญา 3 ประการ คือ
1.วิธีวิเคราะห์ (Analytic) คือการพิจารณาออกเป็นประเด็นปลีกย่อย แล้วนำประเด็นต่างๆมาพิจารณาโดยลำดับ
2.วิธีสังเคราะห์ (Synthetic) คือการแสดงสิ่งทั้งหมด เน้นอยู่ที่ส่วนรวมหรือผลทั้งหมด
3.วิธีเปรียบเทียบ (Comparison to) คือ การสร้างเสริมความคิดและความเข้าใจที่มีอยู่ ให้แจ่มแจ้ง กว้างขวางยิ่งขึ้น
ปัญหาต่างๆที่เกี่ยวกับวิชาศาสนาเปรียบเทียบ เช่น
1.ปัญหาองค์รวมในการศึกษาเนื้อหาศาสนา 2.ปัญหาข้อมูลที่จะนำมาอ้างอิงในการศึกษา 3.ปัญหาคำศัพท์
4.ปัญหาเทคนิคการในสื่อสารเนื้อหา 5.ข้อจำกัดของเนื้อหา 6.ปัญหามาตรฐานที่ใช้ในการศึกษา เป็นต้น
วิธีการศึกษาเปรียบเทียบ
F.Max muller ยกหลักการทางภาษาศาสตร์มากล่าวอย่างน่าสนใจว่า “ he who knows one, knows none”
ผู้รู้หรือมีความรู้เพียงอย่างเดียวย่อมไม่รู้อะไร นั่นคือปรากฏการณ์ทางศาสนานั้นสามารถเข้าใจได้ด้วยมาตรการเปรียบเทียบ ศาสนาเปรียบเทียบมีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ
1.เพื่อแยกแยะขั้นตอนของศาสนาว่ามีวิธีการปฏิบัติกันอย่างไร
2.เพื่อกำหนดลักษณะพิเศษของคำว่า “ศาสนา” ว่ามีลักษณะเด่นๆสำคัญอย่างไรบ้าง
“ศาสนาเปรียบเทียบ ในปัจจุบันโดยสรุป จึงหมายถึงระบบและวิธีการศึกษาแบบองค์รวมหรือแบบสหวิทยาการ อย่างเป็นวิทยาศาสตร์และมีเหตุผล”



นายอลงกรณ์ งามกุศล
สาขาวิชา สังคมศึกษา
รหัส 491171106

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

2. ศาสนามีการแสดงออกทางความคิดอย่างมีระบบ
คือมีการคิดไตร่ตรองอย่างมีระบบ อย่างเช่นชีวิตทุกคนเมื่อยังไม่ตายย่อมมีชีวิต เหมือนนักปรัชญาก็ต้องคิดเรื่องของชีวิต และแสดงความคิดเห็นออกมาอย่างเป็นระบบ
3. ศาสนามีปรัชญาที่เรียกว่าการแสวงหาโลกทัศน์ คือศาสนามองแล้วคิดปัญหานั้นในทุกแง่ทุกมุม ไม่ได้พิจารณาเพียงปัญหาเดียว จะนำปัญหาที่เกี่ยวข้องมาพิจารณาด้วย
4. ศาสนามีลักษณะวิพากษ์และมีการคาดคะเน คือ การวิพากษ์เริ่มต้นจากการสังเกตบางคนไม่พอใจในคำตอบหรือความเชื่อเดิมทางศาสนา จึงทำให้เกิดความคิดใหม่ส่วนการคาดคะเนคือ เป็นอุปกรณ์เสริมสร้างความคิดที่ตนพอใจต่อไป
5. ศาสนามีการตีความหมายใหม่และการประเมินค่า คือ การนำเอาข้อมูลที่ใช้แต่เดิมมาพิจารณาเพื่อหาความหมายที่ถูกต้องมีการตีความหมายใหม่ส่วนการประเมินค่าคือผู้ประเมินต้องมีเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการประเมินค่าจะนำมาใช้เนื่องจากไม่พอใจกับความคิดเดิม
6. ศาสนาเสริมการวิเคราะห์ สังเคราะห์ สังเคราะห์ และการเปรียบเทียบ วิธีวิเคราะห์ คือการจำแนกเรื่องออกมาพิจารณาเป็นประเด็นย่อยและนำประเด็นมาพิจารณาตามลำดับ การสังเคราะห์คือการแสดงสิ่งทั้งหมดโดยส่วนย่อยคือเป็นวิธีการสร้างระบบความคิดให้สมบูรณ์ ส่วนการเปรียบเทียบ เป็นการสร้างความคิดและความเข้าใจให้กว้างขวางขึ้น เช่น ความคิดโบราณของอินเดียมีสิ่งดี ๆ ตรงกับความคิดของตะวันตกอยู่มาก
ศาสนามีภาษาของตนเองก็จะมีทั้งภาษาเฉพาะของวิชาและที่ใช้กันทั่วไปที่นักปรัชญาแต่ละคนพยายามสรรหาคำที่แสดงความหมายความคิดของตนได้อย่างแจ่มแจ้ง
ศาสนามีการคิดสร้างสรรค์ด้วยจิตที่กล้าหาญ และเผชิญภัย คือการเผชิญภัยทางความคิด ศาสนาก็เหมือนกับการเผชิญภัยคือไม่หวั่นเกรงกล้าพร้อมที่จะรับสัจจะ
4. ปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับวิชาศาสนาเปรียบเทียบ
กลุ่มปัญหาปรัชญาทั่วไป ก็จะมีปัญหาเกี่ยวกับปัญหาความมีอยู่ของสสาร ปัญหาปรากฏการณ์ ปัญหาระบบจิตนิยม ปัญหาความรู้และวิธีการเรียนรู้ ปัญหาวิธีการพิสูจน์ความรู้ ปัญหาความรู้เรื่องใหม่เรื่องเก่า เป็นต้น ส่วนกลุ่มปัญหาศาสนาเปรียบเทียบก็จะมีปัญหาเหตุการณ์เรื่องราวในศาสนา ปัญหาสัดส่วนของระบบการศึกษา ปัญหามาตรฐานที่ใช้ในการศึกษา ปัญหาข้อจำกัดของเนื้อหา ปัญหาการเปรียบเทียบ เป็นต้น
2. ปัญหาการแสวงหาความจริงทางวิทยาศาสตร์และศาสนาเปรียบเทียบ ก็จะมีการเปรียบเทียบข้อเท็จจริงกระบวนทรรษ์ทางวิทยาศาสตร์ มีรูปแบบที่มีการเสาะหาความรู้ ความตรงกันหรือสอดคล้องกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจ เพื่อค้นหาความรู้เพื่อมนุษย์ทั่วโลกด้วย มีการรู้ประจักษ์ชัดทางวิทยาศาสตร์ วิธีการแก้ปัญหาให้เห็นชัดได้ มีความสัมพันธ์ระหว่างครู นักศึกษาคือมีการเชื่อมสายสัมพันธ์กันในการทำกิจกรรม และประเภทของจริยศึกษา คือผลสะท้อนที่ทำให้เกิดกับตัวเองและสังคมภายใต้วิทยาศาสตร์และการมีชีวิตอยู่ด้วยศิลธรรม
ข้อเท็จจริงในการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบด้วยกลไหทางวิทยาศาสตร์ ที่มีอิทธิพลในปัจจุบันมีดังนี้ มีคำถามที่ว่า ศาสนาเป็นศาสนาหรือคือมนุษย์ได้รับอิทธิพลทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทำให้โลกมนุษย์ และสังคมมีความเป็นอยู่อย่างเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น ปัญหาเหตุผลกัน มีการต่อสู้กันทางศาสนาเพื่อคุมอำนาจจิต ของมนุษย์ ถึงแม้ว่ามีนักปรัชญาสาขาต่างๆ เข้ามาช่วยแก้ปัญหา แต่ก็ยังมีปัญหาที่จะสามารถตอบปัญหาของเยาวชนได้มากน้อยเพียงใด และศาสนาในศาสนาต่าง ๆ สามารถอธิบายและสื่อให้รู้ได้ใหม่

5. วิธีการศึกษาเปรียบเทียบ
เพื่อแยกแนะขั้นตอนของศาสนาว่ามีวิธีการปฏิบัติกันอย่างไร และเพื่อกำหนดคุณลักษณะพิเศษของคำว่า “ศาสนา” ว่ามีลักษณะเด่น ๆ สำคัญอย่างไรบ้าง
ศาสนาเปรียบเทียบ ในปัจจุบันสรุป คือระบบและวิธีการศึกษแบบองค์รวมหรือแบบสหวิทยาการ อย่างเป็นวิทยาศาสตร์และมีเหตุผล เช่น ปรากฏการณ์ที่เป็นกิจกรรมอันเกี่ยวเนื่องกับศาสนาที่ศาสนิกชน ปฏิบัติตนต่อกันในสังคมโดยปราศจากอคติ
6. กรณีศึกษา: การวิเคราะห์ประเด็นการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ
คือ ไม่ว่าเราจะมองศาสนาด้วยวิธีการสหวิทยาการ หรือจะอาศัยประสบการณ์ของการปฏิบัติในพิธีกรรมหรือการฝึกปฏิบัติธรรมของตนเอง ย่อมมีองค์ความรู้ที่เป็นที่ตั้งที่รับอยู่ 2 องค์ คือ ความรู้สึก และความจำได้ หมายรู้ เท่ากับว่า ศาสนา เป็นความพอใจในความคิดต่อความสัมพันธ์แห่งมนุษยศาสตร์ ต่ออำนาจต่าง ๆ ที่คุ้มครองโลกและจักรวาล หรือศาสนาที่แสดงให้ประจักษ์ 3 ประการ คือ feeling ritual activity belief ส่วนในด้านการทดสอบ เป็นการให้คำนิยามศาสนา คือเป็นการแสวงหาคำตอบจากนักศึกษาแต่ละคน ว่ามีความเข้าใจอย่างไร

นางสาวพรทิพย์ กลื่นศรีสุข
491171109

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ศาสนามีปรัชญาที่เรียกว่าการแสวงหาโลกทัศน์ คือว่า ในการพิจารณาปัญหาเรื่องใดก็ตามของศาสนาจะคิดทุกด้านและนำเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้องมาคิดด้วยเหมือนกับ วินเลี่ยม เจมส์และ ซึงดี.บรอดได้กล่าวไว้ มันไม่ใช่จุดประสงค์ของปรัชญาแต่เป็นการสร้างปรัชญาของความคิดในศาสนา
ศาสนามีลักษณะวิพากษ์และมีการคาดคะเน การวิพากษ์จะทำให้เป็นอิสระจากความเชื่อหรือทำลายความคิดที่ประหลาดและกลัวต่อภัยธรรมชาติ การคาดคะเนจะเป็นการพักพิงความคิดของตนด้วยปัญญา จะกล่าวได้ว่า การสร้างสังคมใหม่คือการวิพากษ์เป็นจุดเรื่องต้นของปรัชญา ส่วนการคาดคะเนนั้นเป็นจุดก้าวต่อไปที่เราจะทำได้
ศาสนามีการตีความหมายใหม่และการประเมินค่า การตีความหมายจะนำเอาศัพท์และข้อมูลความต่างๆ ที่ถูกต้องมาตีความหมายใหม่เป็นนิยามใหม่มีอยู่ทั้งในปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก ส่วนการประเมินค่าจะเป็นการเลือกสรรต้องมีเกณฑ์ในการประเมินวิธีการนี่มีลักษณะเป็นอัตนัย
ศาสนาส่งเสริมการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์จะเริ่มต้นด้วยการนำเอาผลรวมทั้งหมดมาพิจารณาโดยแยกแยะผลรวมนั้นๆ ออกเป็นประเด็นจะได้ผลที่ต้องการคือ ความแท้จริงของประเด็น การสังเคราะห์จะเป็นการแสดงสิ่งทั้งหมดโดยอาศัยส่วนรวมหรือผลรวมทั้งหมดเป็นวิธีการสร้างระบบความคิดให้สมบูรณ์ ส่วนการเปรียบเทียบ เป็นการช่วยสร้างความคิดไห้แจ่มแจ้ง กว้างขว้างยิ่งขึ้น อาจจะเปรียบเทียบในระบบเดียวกันและต่างระบบกัน ศาสนานั้นมีภาษาของตนเองคือ จะมีเทอม วลี จะเป็นตัวช่วยแต่งที่ทำไห้การเขียนและการพูดปรัชญามีชีวิตชีวาขึ้นศาสนามีการคิดสร้างสรรค์โดยจิตที่กล้าหารคือ ต้องไม่หวั่นต่อความหวั่นเกรง ยอมรับสัจจะและปฎิเสธความเท็จ อาศัยเหตุและผลเป็นสำคัญ
วิชาศาสนาเปรียบเทียบการศึกษานั้นก็ย่อมเกิดปัญหาหากเป็นการศึกษาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และปรัชญาว่าทำไมเราต้องเปรียบเทียบและเพื่ออะไรถ้าเป็นข้อเท็จจริงในกระบวนการทรรษ์ทางวิทยาศาสตร์มันจะมีรูปแบบเป็นการเสาะหาสอบถามความรู้มีวัตถุประสงค์ เพื่อบอกถึงคุณและโทษคือความรู้ในโลกธรรมชาติการรู้ประจักษ์รัดความสำพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเพื่อประโยชน์นิยมเพื่อมวลชนส่วนข้อเท็จจริงในการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบด้วยกลไกลทาวิทยาศาสตร์ที่มีอิทธิพลในปัจจุบันจะมีปัญหาเหตุผลกันยังมีปัญหาความเข้าใจแก่นของศาสนาที่จะเป็นคุณค่าสูงสุดหรือคุณภาพชีวิตที่จะตอบเยาวชนรุ่นใหม่วิธีการที่จะคิดเปรียบเทียบปรากฏการณ์ทางศาสนานั้นสามารถเข้าใจได้จากการเปรียบเทียบมีวัตถุประส่งเพื่อแยกแยะขั้นตอนของศาสนาปฏิบัติกันอย่างไร และเพื่อกำหนดคุณลักษณะพิเศษของคำว่า "ศาสนา" ว่ามีลักษณะเด่นๆๆสำคัญอย่างไรบ้าง จึงหมายถึงระบบและวิธีการศึกษาแบบองค์รวมหรือแบบสหวิทยาการ อย่างเป็นวิทยาศาสตร์และมีเหตุผล


นางสาวพัชราภรณ์ เพ็ชน้อย
สาขาวิชา สังคมศึกษา
รหัส 491171101