วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ประมวลการสอนจริยธรรมสำหรับนักบริหารท้องถิ่น (Ethics for Local Admimistraror)

ประมวลการสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
สาขาวิชา การปกครองท้องถิ่น ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๑
รหัสวิชา ๒๒๐๙๔๐๓ หน่วยกิต ๓ (๓-๐-๖)
ชื่อวิชา จริยธรรมสำหรับนักบริหารท้องถิ่น (Ethics for Local Admimistraror)
สถานภาพของวิชา R บังคับ £ เลือก
วิชาในหลักสูตร R ปริญญาตรี £ ป.บัณฑิต £ ปริญญาโท
จำนวนชั่วโมง / ๑ สัปดาห์
บรรยาย ๓ ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง ค้นคว้า ๖ ชั่วโมง
ผู้สอน อ.ภูมิกิติ จารุธนนนท์ (โทร. ๐๘๑-๔๓๓-๔๘๕๒ ) E - mail : pans_2009@hotmail.com.
ห้องพัก ๒/๒๐๑ บล็อกของอาจารย์ http://kit-meaninoflife.blogspot.com
_____________________________________________________________________________________
คำอธิบายรายวิชา :
ความรู้พื้นฐาน แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับจริยศาสตร์ จรรยาบรรณทางการบริหารและคุณธรรมพื้นฐานสำหรับนักบริหาร ธรรมาภิบาลกับการบริหารท้องถิ่น จริยธรรมกับการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรท้องถิ่น วัฒนธรรมพื้นบ้านกับการบริหารท้องถิ่น การประยุกต์ใช้หลักศาสนธรรมในการบริหารท้องถิ่น กรณีศึกษาปัญหาทางการบริหารการปกครองท้องถิ่น
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ :
เมื่อเรียนจบวิชานี้ นักศึกษาสามารถ
๑. อธิบายแนวคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับจริยศาสตร์ได้
๒. อธิบายจรรรยาบรรณทางการบริหารและคุณธรรมพื้นฐานสำหรับนักบริหารได้
๓. มีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมาภิบาลและนำไปใช้กับการบริหารท้องถิ่นได้
๔. มีความรู้ความเข้าใจและนำหลักจริยธรรมไปเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรท้องถิ่นได้
๕. มีความรู้เรื่องวัฒนธรรมพื้นบ้านท้องถิ่นและนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อท้องถิ่น
๖.มีความรู้ความและเข้าใจหลักศาสนธรรมในการบริหารท้องถิ่นและสามารถนำหลักศาสนาไปใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาท้องถิ่นได้
เอโส หิ อุตฺตริตโร ภาราวโห ธุรนฺธโร โย ปเรสาธิปนฺนานํ สยํ สนฺธาตุมรหติ
ผู้ใด เมื่อคนเหล่าอื่นขัดแย้งกันอยู่ ตนเองเป็นผู้ประสานให้พวกเขาคืนดีกัน ผู้นั้นเป็นคนรับภาระและจัดการธุระที่ยอดเยี่ยม (ขุ. ชา ๒๗/๑๓๓)







เนื้อหารายวิชาและกิจกรรมรายสัปดาห์

สัปดาห์ที่
หัวเรื่อง
กิจกรรม
สื่อการสอน
การวัดผล
๑-๓

-แจกประมวลการสอน แนะนำรายวิชาและชี้แจงแนวการเรียนรู้ มอบหมายงาน ทบทวนความรู้เดิมในเรื่องความรู้ทั่วไปกับการบริหาร
-หลักจริยธรรม
-การบริหาร
-ความหมาย
-หลักธรรมทางศาสนาสำหรับนักบริหาร
หลักธรรมาภิบาล
-ความหมาย
-องค์ประกอบ
-กลไกในการสร้างธรรมาภิบาลในองค์การบริหารส่วนตำบล
-ข้อจำกัดของการสร้างธรรมาภิบาล
๑. อธิบายประมวลการสอน
๒. ให้ทดลองเขียนอธิบายความหมายของคำว่า จริยธรรมและการบริหารเป็นรายบุคคลแล้วสุ่มอ่าน
๓. อธิบายความหมายของคำต่าง ๆ และซักถามเป็นรายบุคคล
๔. ให้แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
- power point
- ประมวลการสอน
- เอกสาร
ประกอบการเรียนการสอน
-ใบความรู้

- สังเกตจากการ
ตอบคำถาม
- พิจารณาและ
ตรวจสอบ
การคำถาม
๔-๖

คุณธรรมสำหรับผู้บริหาร
- กรอบความคิดคุณธรรมสำหรับผู้บริหาร
- คุณธรรมสำหรับผู้บริหาร
- หน้าที่ของนักบริหาร
- คุณลักษณะของนักบริหาร
- วิธีการบริหาร
- ธรรมะเพื่อการบริหาร
การประยุกต์พุทธธรรมมาใช้กับการบริหาร
-บทบาทของปัญญา
-วิธีพัฒนาปัญญา
-จริตของคน ๖ อย่าง
-ทำไมทำดีไม่ได้ดี
-หลักในการอบรมจริยธรรม
-ทางเลือกในการพัฒนาคุณธรรม
-พหูสูต ๕ ระดับ
-ทฤษฏีของความรู้
-สรุปวิธีคิด ๑๐ ตามหลักพุทธธรรม
๑. อธิบายประกอบการซักถาม
๒. อภิปรายสรุป
- power point
- ใบความรู้
- เอกสารประกอบการสอน
- สังเกตการร่วม
กิจกรรม
- ตรวจใบความรู้
๗-๘

หลักการและคำสอนทางศาสนากับการปกครองท้องถิ่น
- ศาสนพุทธ
- ศาสนาอิสลาม
-ศาสนาคริสต์
จิตจริยธรรม
- สิ่งที่สนับสนุนการเกิดผลงานที่ดี
- การสนับสนุนในแนวดิ่ง
- การสนับสนุนในแนวราบ
- การเพาะความคิดเป็นระยะ ๆ
- สิ่งที่คุกคามการอบรมทางจริยธรรม
- การศึกษาเป็นศูนย์กลางของผลงานที่ดี


๑. อธิบายประกอบการซักถาม
๒. อภิปรายกลุ่ม
๓. อาจารย์สรุป
- power point
- แบบทดสอบ
- เอกสารประกอบ
การเรียนการสอน
- สังเกตจากความสนใจในการร่วม กิจกรรม
- ประเมินจาก
การทำแบบทดสอบ


.
จริยศาสตร์
-การตัดสินใจทางจริยธรรม
-ปัญหาทางจริยธรรม
-จริยธรรมเป็นกระบวนการที่ไม่หยุดนิ่ง
-ระดับกระบวนการคิดทางจริยธรรม

๑. อธิบาย อภิปราย ซักถาม
๒. นักศึกษาร่วมอภิปรายร่วมกัน
๓. อาจารย์สรุป
- power point
- ใบความรู้
- เอกสารประกอบ
การเรียนการสอน

- สังเกตและ
ตรวจสอบใบ
ความรู้




สัปดาห์ที่
หัวเรื่อง
กิจกรรม
สื่อการสอน
การวัดผล
๑๐
(๓.ม.ค.)
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
การบริหารรัฐกิจในสังคมสมัยใหม่และหลังสมัยใหม่
-ปัญหาของความเป็นสมัยใหม่ในโลกหลังสมัยใหม่
-ผลกระทบต่อการบริหารรัฐกิจ
-ทฤษฎีทางการเมืองและจริยธรรมในการบริหาร


๑. นักศึกษาค้นคว้าจากเอกสารประกอบการเรียนการสอน
- ใบความรู้
- เอกสารประกอบการเรียนการสอน


- ประเมินจาก
งานที่ทำส่ง
-ตรวจใบความรู้
๑๑-๑๓






๑๔
(๓๑.ม.ค.)
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง


ความรับผิดชอบของผู้บริหาร
-ความรับผิดชอบในหน้าที่
-ความรับผิดชอบตามจิตสำนึก
ความรับผิดชอบที่ขัดแย้งกัน
- ความขัดแย้งของอำนาจหน้าที่
-ความขัดแย้งของบทบาท
-ความขัดแย้งขอผลประโยชน์

จริยธรรมแห่งวิชาชีพและจริยศาสตร์
๑. อธิบาย ยกตัวอย่างประกอบ
๒. นักศึกษาร่วมกันอภิปราย
๓. อาจารย์สรุป





๑. นักศึกษาค้นคว้าจากเอกสารประกอบการเรียนการสอนและสื่ออื่น ๆ

- power point
- เอกสารประกอบการเรียนการสอน




- ใบความรู้
- เอกสารประกอบการเรียนการสอน

- สังเกตความสนใจและตอบคำถาม






- ประเมินจาก
งานที่ทำส่ง
-ตรวจใบความรู้

วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ :
ประเมินจากความเจริญก้าวหน้าของความคิด สติปัญญา และพฤติกรรม โดยประเมินจาก
๑. วิธีการในการศึกษา
๒. คุณภาพของผลงาน การศึกษา การวิเคราะห์ การนำเสนอ (ทั้งการพูดและการเขียน) การอภิปราย การเสนอความคิด การตอบคำถาม เป็นต้น) ที่ต้องได้มาตรฐานอยู่ในเกณฑ์ “ดี” และ “ดีเยี่ยม” เท่านั้น
คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน จำแนกเป็น ๖๐/๔๐
๑. การทดสอบย่อย /ตอบคำถามในระหว่างการเรียน ๒๐ คะแนน
๒. รายงาน ๒๐ คะแนน
๓. คะแนนจริยธรรม (พฤติกรรมการเรียน) ๑๐ คะแนน
๔. สอบกลางภาค ๒๐ คะแนน
๕. การสอบปลายภาค ๓๐ คะแนน
เกณฑ์การตัดเกรดดังนี้
A = ๘๐ – ๑๐๐ B+ = ๗๕ – ๗๙ B = ๗๐ – ๗๔ C+ = ๖๕ – ๖๙
C = ๖๐ – ๖๔ D+ = ๕๕ – ๕๙ D = ๕๐ – ๕๔ E = ๐ – ๔๙
I = ส่งงานไม่ครบ X = ขาดสอบปลายภาค

รายชื่อตำรา เอกสาร วารสาร
๑. บังคับ
๑.๑ กองบรรณาธิการ บริษัทเอ็กซเปอร์เน๊ทจำกัด. (๒๕๕๑). จริยธรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ เอ็กซเปอร์เน็ท.

๒. เอกสารแนะนำ : (เพื่อเสริมการเรียนรู้)
๒.๑ เจริญ ศรประดิษฐ์. (๒๕๔๑). จริยธรรมกับชีวิต. สุราษฎร์ธานี : สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
๒.๒ จำเริญ เจือจันทร์. (๒๕๔๘). จริยศาสตร์ : ทฤษฎีจริยธรรมสำหรับนักบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์.
๒.๓ เชิดชัย เลิศจิตรเลขา. (๒๕๔๙). คริสตจริยศาสตร์พื้นฐาน.กรุงเทพฯ : คณะนักบวชคาบิลเลียนประเทศไทย.
๒.๔ ธานินท์ กรัยวิเชียร. (๒๕๔๘). คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
๒.๕ พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (๒๕๔๑). คุณธรรมสำหรับนักบริหาร. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
๒.๖ พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).(๒๕๓๔). พัฒนาชีวิตด้วยแนวคิดเชิงคุณธรรม. กรุงเทพฯ:ส่องสยาม.
๒.๗ ภูมิกิติ จารุธนนนท์.(๒๕๔๕).”พุทธวิธีในการบริหาร”, มนุษย์กับสังคม.ลพบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏเทพสตรี.
๒.๘ สกล เที่ยงแท้. (๒๕๔๒). การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม.ราชบุรีฯ : สถาบันราชภัฏจอมบึง.
๒.๙ สมพร เทพสิทธา. (๒๕๔๔). คุณธรรมและจริยธรรมของผูนักบริหาร.กรุงเทพฯ: สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปภัมภ์.
๒.๑๐ อมรา เล็กเริงสินธ์. (๒๕๔๒). คุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

óóóóóó

ไม่มีความคิดเห็น: